แผนที่ดินตามกลุ่มลักษณะเด่นและสภาพปัญหา
 
 
   
การจัดการดินตามลักษณะเด่นและสภาพปัญหา
 
 
     จากลักษณะและสมบัติของดินในกลุ่มชุดดินต่างๆ ที่พบแพร่กระจายอยู่ในพื้นที่จังหวัดตรัง สามารถจัดกลุ่มดินใหม่ตามลักษณะเด่น สภาพปัญหาหรือข้อจำกัดในการใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร และสภาพพื้นที่ที่พบ ได้เป็น 15 กลุ่ม ดังนี้
 
ลักษณะดินและแนวทางการจัดการดินในพื้นที่ลุ่ม
 
     
m3
กลุ่มดินเปรี้ยวจัดระดับลึกปานกลาง พบความเป็น กรดรุนแรงมากในช่วงความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน
m5
กลุ่มดินเหนียวที่มีปฏิกิริยาดินเป็นกลาง ถึงเป็นด่าง
m6
กลุ่มดินเหนียวที่มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด ถึงเป็นกรดจัดมาก
m8
กลุ่มดินเลนชายทะเลที่มีน้ำทะเลท่วมถึงเป็น ประจำ
m10
กลุ่มดินร่วนที่เกิดจากตะกอนลำน้ำ
m13
กลุ่มดินตื้นที่มีก้อนกรวดหรือลูกรังมาก
ภายในความลึก 50 ซม.จากผิวดิน
   
ลักษณะดินและแนวทางการจัดการดินในพื้นที่ดอน
 
m26
กลุ่มดินเหนียวลึกมาก
m27
กลุ่มดินร่วนริมฝั่งแม่น้ำ
m28
กลุ่มดินร่วนลึกมาก
m29
กลุ่มดินทรายที่มีชั้นดานอินทรีย์
m30
กลุ่มดินทรายหนา
m31
กลุ่มดินตื้นที่มีลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหิน ปะปนมากภายในความลึก 50 ซม.จากผิวดิน
m32
กลุ่มดินตื้นที่พบชั้นหินพื้นภายในความลึก 50 ซม.จากผิวดิน
m33
กลุ่มดินลึกปานกลางที่มีลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหินปนอยู่มากในช่วงความลึก 50-100 ซม.จากผิวดิน
m34
พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงมาก
   
พิมพ์.....แผนที่และคำอธิบายสัญลักษณ์
ดาวน์โหลด... คู่มือการจัดการดิน..จังหวัดตรัง
   
 
      

ส่วนมาตรฐานการสำรวจจำแนกดินและที่ดิน
สำนักสำรวจดินและวางแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
...สงวนลิขสิทธิ์...